Thailand

Kingdom of Thailand[1] [print]

Last edited: December 2005

Summary and Analysis

The Kingdom of Thailand ratified the UN Convention on the Rights of the Child on March 27, 1992.  Since then, the government has made strides in reforming domestic laws accordingly.  The revised Constitution, adopted in 1997, guarantees the promotion and protection of children’s rights as recognized by the Convention, including the right to be protected from violence and unfair treatment. In addition, after nearly a decade of lobbying by non-governmental organizations, Thailand adopted the Child Protection Act, which went into effect in 2004.   Among other things, this statute provides that children have the right to protection from physical or sexual abuse, and that their best interests are paramount in child protective proceedings. 

Typically, the initial stage of child protective process in Thailand is administrative, rather than judicial. Under the Child Protection Act, nurses, psychologists, public health officials, teachers, and similar parties must report any instances of suspected child abuse and neglect.  Administrative officials, including social workers, investigate such allegations.  Upon a finding of moderate neglect, the officials must institute welfare assistance, such as parenting classes. In instances of more serious neglect or abuse—including torture—officials must take appropriate safety protection measures, such a removing the child from an abusive environment.  While the investigative officials are required to question a child when investigating alleged abuse and neglect, they are not formally required to heed the child’s expressed interests when deciding whether or not to provide welfare assistance or initiate safety protection measures.   

Courts also play a role in child protection.  A parent or guardian can petition the Family and Juvenile Court to contest the initiation of welfare assistance or safety protection procedures. Under the Civil Code, extended relatives or other parties may petition the court for guardianship of a child who is alleged abused and/or neglected.  Children are not permitted to participate directly in such proceedings.  The Civil and Commercial Code provides that a guardian be appointed to represent the child’s best interests.  The child is not provided with an attorney in such proceedings.  In sum, the Child Protection Act (chapter 2, article 22) provides that the child’s best interest is paramount throughout the child protective process, but the child’s expressed interests appear to play a tangential role.

Sources of Law (In Order of Authority)

Original Text

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540[2]

มาตรา ๕๓ เด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิได้รับความคุ้มครองโดยรัฐจากการใช้ความรุนแรง และการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม

เด็กและเยาวชนซึ่งไม่มีผู้ดูแล มีสิทธิได้รับการเลี้ยงดูและการศึกษาอบรมจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๘๐ รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของครอบครัว และความเข้มแข็งของชุมชน

รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้

Statutes

พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖

หมวด ๒ การปฏิบัติต่อเด็ก

มาตรา ๒๒ การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใด ให้คำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสำคัญและไม่ให้มีการเลือก ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมการกระทำใดเป็นไปเพื่อประโยชน์ สูงสุดของ เด็ก หรือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อเด็กหรือไม่ ให้พิจารณาตามแนวทางที่กำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๒๓ ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนาเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ขนบธร รมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแห่งท้องถิ่น แต่ทั้งนี้ต้องไม่ต่ำกว่ามาตรฐานขั้นต่ำตามที่กำหนดในก ฎกระทรวงและต้องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองด ูแลของตนมิให้ตกอยู่ในภาวะอันน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ

มาตรา ๒๔ ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการเขต นายอำเภอ ปลัดอำเภอ ผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ หรือผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ไม่ว่าเด็กจะมีผู้ปกครองหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งมีอำนาจและหน้าที่ดูแลและตรวจสอบสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟื้ นฟุ และสถานพินิจที่ตั้งอยู่ในเขตอำนาจ แล้วรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด แล้วแต่กรณี เพื่อทราบ และให้มีอำนาจและหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระรา ชบัญญัตินี้

มาตรา ๒๕ ผู้ปกครองต้องไม่กระทำการ ดังต่อไปนี้

(๑) ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานพยาบาลหรือไว้กับบุค คลที่รับจ้างเลี้ยงเด็กหรือที่สาธารณะหรือสถานที่ใด โดยเจตนาที่จะไม่รับเด็กกลับคืน

(๒) ละทิ้งเด็กไว้ ณ สถานที่ใดๆ โดยไม่จัดให้มีการป้องกันดูแลสวัสดิภาพหรือให้การเลี้ยงที่เหมา ะสม

(๓) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตหรือสุขภาพอนา มัยจนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก

(๔) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริญเติบโตหรือพัฒ นาการของเด็ก

(๕) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการเลี้ยงดูโดยมิชอบ

มาตรา ๒๖ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแหงกฎหมายอื่น ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการ ดังต่อไปนี้

(๑) กระทำหรือละเว้นการกระทำอันเป็นการทารุณกรรมต่อร่างกายหรือ

จิตใจของเด็ก

(๒) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งจำเป็นแก่การดำรงชีวิตหรือการรักษ

าพยาบาลแก่เด็กที่อยู่ในความดูแลของ

ตน จนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก

         (๓) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือน่าจะทำให้เด็กมีความป

ระพฤติเสี่ยงต่อการกระทำผิด

         (๔) โฆษณาทางสื่อมวลชนหรือเผยแพร่ด้วยประการใด เพื่อรับเด็กหรือยกเด็กให้แก่บุคคลอื่นที่มิใช่ญาติของเด็ก เว้นแต่เป็นการกระทำของทางราชการหรือได้รับอนุญาตจากทางราชการ แล้ว

         (๕) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม ยินยอม หรือกระทำด้วยประการใดให้เด็กไปเป็นขอทาน เด็กเร่ร่อน หรือใช้เด็กเป็นเครื่องมือในการขอทานหรือการกระทำผิด หรือกระทำด้วยด้วยประการใดอันเป็นการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจา กเด็ก

         (๖) ใช้ จ้าง หรือวานเด็กให้ทำงานหรือกระทำการอันอาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายห รือจิตใจ มีผลกระทบมต่อการเจริญเติบโต หรือขัดขวางต่อพัฒนาการของเด็ก

         (๗) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กเล่นกีฬาหรือให้กระทำการใดเพื่อแสวงหาประโยช น์ทางการค้าอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางต่อการเจริญเติบโตหรือพั ฒนาการของเด็กหรือมีลักษณะเป็นการทารุณกรรมต่อเด็ก

         (๘) ใช้หรือยินยอมให้เด็กเล่นการพนันไม่ว่าชนิดใดหรือเข้าไปในสถาน ที่เล่นการพนัน สถานค้าประเวณี หรือสถานที่ที่ห้ามมิให้เด็กเข้า

         (๙) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กแสดงหรือกระทำการอันมีลักษณะลามกอนาจาร ไม่ว่าจะเป็นไปเพื่อให้ได้มาซึ่งค่าตอบแทนหรือเพื่อการใด

         (๑๐) จำหน่าย แลกเปลี่ยน หรือให้สุราหรือบุหรี่แก่เด็ก เว้นแต่การปฏิบัติทางการแพทย์

         ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งมีโทษตามกฎหมายอื่นที่หนักกว่า ก็ให้ลงโทษตามกฎหมายนั้น

มาตรา ๒๙ ผู้ใดพบเห็นเด็กตกอยู่ในสภาพจำต้องได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้ม ครองสวัสดิภาพตามหมวด ๓ และหมวด ๔ จะต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ หรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยมิชักช้า หากเป็นที่ปรากฏชัดเจนหรือน่าสงสัยว่าเด็กถูกทารุณกรรมหรือเจ ็บป่วยเนื่องจากการเลี้ยงดูโดยมิชอบการแจ้งหรือการรายงานตาม มาตรานี้ เมื่อได้กระทำโดยสุจริตย่อมได้รับความคุ้มครองและไม่ต้องรับผ ิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญาหรือทางปกครอง

หมวด ๓ การสงเคราะห์เด็ก

มาตรา ๓๒ เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ได้แก่

(๑) เด็กเร่ร่อน หรือเด็กกำพร้า

(๒) เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือพลัดหลง ณ ที่ใดที่หนึ่ง

(๓) เด็ก ที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ด้วยเหตุใดๆ เช่น ถูกจำคุก กักขัง พิการ ทุพพลภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง ยากจน เป็นผู้เยาว์ หย่า ถูกทิ้งร้าง เป็นโรคจิตหรือโรคประสาท

(๔) เด็กที่ผู้ปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไม่เหมาะสมอันอาจส ่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางร่างกายหรือจิตใจของเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแล

(๕) เด็ก ที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำหรือแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ถูกทารุณกรรม หรือตกอยู่ในภาวะอื่นใดอันอาจเป็นเหตุให้เด็กมีความประพฤติเส ื่อมเสียในทางศีลธรรมอันดีหรือเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กาย หรือจิตใจ

(๖) เด็กพิการ

(๗) เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก

(๘) เด็กที่อยู่ในสภาพที่จำต้องได้รับการสงเคราะห์ตามที่กำหนดในก ฎกระทรวง

มาตรา ๓๓ ในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพ เด็กตามมาตรา ๒๔ ได้รับแจ้งจากบุคคลตามมาตรา ๒๙ หรือพบเห็นเด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ตามมาตรา ๓๒ ให้พิจารณาให้การสงเคราะห์ตามวิธีการที่เหมาะสม ดังต่อไปนี้

(๑) ให้ความช่วยเหลือและสงเคราะห์แก่เด็กและครอบครัวหรือบ ุคคลที ่อุปการะเลี้ยงดูเด็ก  เพื่อให้สามารถอุปการะเลี้ยงดูเด็กได้ตามมาตรา ๒๓

(๒) มอบ เด็กให้อยู่ในความอุปการะของบุคคลที่เหมาะสมและยินยอมรับ เด็กไว้อุปการะเลี้ยงดูตามระยะเวลาที่เห็นสมควร แต่ต้องไม่เกินหนึ่งเดือน ในกรณีที่ไม่อาจดำเนินการตาม (๑) ได้

(๓) ดำเนินการเพื่อให้เด็กได้เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นตามกฎห มายว่าด้วยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

(๔) ส่งเด็กเข้ารับการอุปการะในครอบครัวอุปถัมภ์หรือสถานรับเลี้ ยงเด็กที่เหมาะสมและยินยอมรับเด็กไว้อุปการะ

(๕) ส่งเด็กเข้ารับการอุปการะในสถานแรกรับ

(๖) ส่งเด็กเข้ารับการอุปการะในสถานสงเคราะห์

(๗) ส่งเด็กเข้าศึกษาหรือฝึกหัดอาชีพ หรือส่งเด็กเข้าบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ ศึกษา หรือฝึกหัดอาชีพใน สถานพัฒนาและฟื้นฟู หรือส่งเด็กเข้าศึกษากล่อมเกลาจิตใจโดยใช้หลักศาสนาในวัดหร ือสถานที่ทางศาสนาอื่น ที่ยินยอมรับเด็กไว้

วิธีการให้การสงเคราะห์ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามระเบียบ ที่ปลัดกระทรวงกำหนด และไม่ว่ากรณีใดๆ การดำเนินการให้การสงเคราะห์ตาม (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) ต้อง ได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง ความยินยอมดังกล่าวต้องทำเป็นหนังสือตามแบบที่ปลัดกระทรวงกำหนด หรือยินยอมด้วยวาจาต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคน ในกรณีที่ผู้ปกครองไม่ให้ความยินยอมโดยไม่มีเหตุอันควร หรือไม่อาจให้ความยินยอมได้ ให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี มีอำนาจส่งเด็กเข้ารับการสงเคราะห์ตามวิธีการดังกล่าวได้ ทั ้งนี้ ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัดต้องฟังรายงานและความเห็ นของผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์และการแพทย์ก่อน

ให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี มีอำนาจกำหนดระยะเวลาในการสงเคราะห์เด็กตาม (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) แต่ ถ้ามีพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไปอาจจะขยายหรือย่นระยะเวลาที่ กำหนดไว้แล้วก็ได้ตามแต่เห็นสมควร ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวให้พนักงานเจ้าหน้าที่รีบดำเนินการ จัดให้เด็กสามารถกลับไปอยู่ในความปกครองของผู้ปกครองโดยมิชักช้า

ในกรณีเด็กอยู่ ระหว่างการรับการสงเคราะห์ ถ้าผู้ปกครองร้องขอและแสดงให้เห็นว่าสามารถปกครองและอุปการะเล ี้ยงดูเด็กได้ ให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี สั่งให้เด็กพ้นจากการสงเคราะห์และมอบตัวเด็กให้แก่ผู้ปกครองร ับไปปกครองดูแลได้ แม้ว่ายังไม่ครบกำหนดระยะเวลาในการสงเคราะห์ก็ตาม

ในกรณีที่บุคคลที่ ได้รับการสงเคราะห์มีอายุครบสิบแปดปีบริ บูรณ์แต่ยังอยู่ในสภาพที่จำเป็นจะต้องได้รับการสงเคราะห์ต่อไป ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี อาจสั่งให้บุคคลนั้นได้รับการสงเคราะห์ต่อไปจนอายุยี่สิบปีบร ิบูรณ์ก็ได้ แต่ถ้ามีเหตุจำเป็นต้องให้การสงเคราะห์ต่อไปอีกและบุคคลนั้นม ิได้คัดค้าน ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี อาจสั่งให้สงเคราะห์บุคคลนั้นต่อไปตามความจำเป็นและสมควร แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินเวลาที่บุคคลนั้นมีอายุครบยี่สิบสี่ปีบ ริบูรณ์

มาตรา ๓๔ ผู้ปกครองหรือญาติของเด็ก อาจนำเด็กไปขอรับการสงเคราะห์ที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการหร ือสำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด หรือที่สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูของเอกชน เพื่อขอรับการสงเคราะห์ได้

กรณีมีการนำเด็กมา ขอรับการสงเคราะห์ที่กรมพัฒนาสังคมและส วัสดิการหรือสำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด ถ้าเป็นเด็กที่จำเป็นต้องได้รับการสงเคราะห์ให้พนักงานเจ้าหน ้าที่พิจารณาให้การสงเคราะห์ที่เหมาะสมตามมาตรา ๓๓ แต่ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ยังไม่สามารถหาวิธีการสงเคราะ ห์ที่เหมาะสมกับเด็กตามมาตรา ๓๓ ได้ จะส่งเด็กไปยังสถานแรกรับก่อนก็ได้

กรณีมีการนำเด็กมา ขอรับการสงเคราะห์ที่สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็กของเอกชน ให้ผู้ปกครองสวัสดิภาพรายงานข้อมูลเกี่ยวกับเด็กต่อพนักงานเจ ้าหน้

าที่เพื่อพิจารณาดำเนินการตามวรรคสองต่อไป

มาตรา ๓๕ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด ็กตามมาตรา ๒๔ พบเห็นเด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ตามมาตรา ๓๒ (๑) และ (๒) หรือ ได้รับแจ้งจากบุคคลตามมาตรา ๒๙ ให้สอบถามเพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก ถ้าเด็กเจ็บป่วยหรือจำต้องตรวจสุขภาพหรือเป็นเด็กพิการต้องร ีบจัดให้มีก

ารตรวจ รักษาทางร่างกายและจิตใจทันที หากเป็นเด็กที่จำเป็นต้องได้รับการสงเคราะห์ก็ให้พิจารณาให้ การสงเคราะห์ตามมาตรา ๓๓ และไม่ว่ากรณีใดให้พยายามดำเนินการเพื่อให้เด็กสามารถกลับไป อยู่กับครอบครัวโดยเร็ว แต่หากปรากฏว่าสภาพครอบครัวหรือสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะที่จะให้ เด็กกลับไปอยู่กับครอบครัว และมีเหตุจำเป็นที่จะต้องให้การคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็ก พนักงานเจ้าหน้าที่จะใช้มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กตาม หมวด ๔ ก็ได้

มาตรา ๓๖ ในระหว่างที่เด็กได้รับการสงเคราะห์ตามมาตรา ๓๓ (๒) (๔) หรือ (๖) หาก ปรากฏว่าเป็นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดและพึงได้รับการ คุ้มครองสวัสดิภาพ ให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี มีอำนาจสั่งให้ใช้มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กตามหมวด ๔ ได

มาตรา ๓๗ เมื่อสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูได้รับตัวเด็กไว้ตามมาตรา ๓๓ (๕) (๖) หรือ (๗) ให้ ผู้ปกครองสวัสดิภาพรีบสืบเสาะและพินิจเกี่ยวกับตัวเด็กแล ะครอบครัว และเสนอความเห็นเกี่ยวกับวิธีการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสด ิภาพเด็ก แต่ละคนพร้อมด้วยประวัติไปยังปลัดกระทรวงหรือผู้ว่า ราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี โดยมิชักช้า และให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งการตามที่เห็น สมควรต่อไ

มาตรา ๓๘ ในกรณีที่ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้เด็กเข้าร

ับการสงเคราะห์โดยผู้ปกครองไม่ยินยอม ตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง กรณีที่ผู้ปกครองของเด็กไม่เห็นด้วยกับกำหนดระยะเวลาตามมาตรา ๓๓ วรรคสาม หรือกรณีที่ผู้ปกครองยื่นคำร้องขอรับเด็กไปปกครองดูแลเองแต่ได้

รับการปฏิเสธจากปลัดกระทรวงหรือผู้ว่า ราชการจังหวัดตามมา ตรา ๓๓ วรรคสี่ ผู้ปกครองย่อมมีสิทธิ์นำคดีไปสู่ศาลตามมาตรา ๕ ในเขตท้องที่นั้นภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันรับทราบคำ สั่ง

มาตรา ๓๙ ในกรณีที่ผู้ปกครองซึ่งได้รับเด็กกลับมาอยู่ในความดูแล มีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าจะให้การเลี้ยงดูโดยมิชอบแก่เด็กอีก ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ กตามมาตรา ๒๔ ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง หากผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำก็ให้ยื่นคำขอต่อปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ แล้วแต่กรณี เพื่อเรียกผู้ปกครองมาทำทัณฑ์บนว่าจะไม่กระทำการใดอันมีลักษ ณะเป็นการให้ก

ารเลี้ยงดูโดยมิชอบแก่เด็กอีก และให้วางประกันไว้เป็นจำนวนเงินตามสมควรแก่ฐานานุรูป แต่จะเรียกประกันไว้ได้ไม่เกินระยะเวลาสองปี ถ้ากระทำผิดทัณฑ์บนให้ริบเงินประกันเป็นของกองทุนคุ้มครองเด ็กตามมาตรา ๖๙

การให้คำแนะนำหรือการเรียกประกันให้คำนึงถึงฐานะทางเศรษฐ กิจของผู้ปกครอง และประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสำคัญ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ [3]

ลักษณะ ๒ บิดามารดากับบุตร

         หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร

มาตรา ๑๕๖๔ บิดามารดาจำต้องอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาตามสมควรแ ก่บุตรในระหว่างที่เป็นผู้เยาว์
บิดามารดาจำต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว แต่เฉพาะทุพพลภาพและหาเลี้ยงตนเองมิได้

มาตรา ๑๕๘๒ ถ้าผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นคนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถโดยคำสั่งของศาลก็ดี ใช้อำนาจปกครองเกี่ยวแก่ตัวผู้เยาว์โดยมิชอบก็ดี ประพฤติชั่วร้ายก็ดี ในกรณีเหล่านี้ศาลจะสั่งเอง หรือจะสั่งเมื่อญาติของผู้เยาว์หรืออัยการร้องขอให้ถอนอำนาจ ปกครองเสียบางส่วนหรือทั้งหมดก็ได้ถ้าผู้ใช้อำนาจปกครองล้มละ ลายก็ดี หรือจัดการทรัพย์สินของผู้เยาว์ ในทางที่ผิดจนอาจเป็นภัยก็ดี ศาลจะสั่งตามวิธีในวรรคหนึ่งให้ถอนอำนาจจัดการทรัพย์สินเสียก็ได้

           มาตรา ๑๕๘๓ ผู้ถูกถอนอำนาจปกครองบางส่วนหรือทั้งหมดนั้น ถ้าเหตุดังกล่าวไว้ในมาตราก่อนสิ้นไปแล้ว และเมื่อตนเองหรือญาติของผู้เยาว์ร้องขอ ศาลจะสั่งให้มีอำนาจปกครองดังเดิมก็ได้

       หมวด ๓ ความปกครอง

มาตรา ๑๕๘๕ บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและไม่มีบิดามารดาหรือบิดามารด

าถูกถอนอำนาจปกครองเสียแล้วนั้น จะจัดให้มีผู้ปกครองขึ้นในระหว่างที่เป็นผู้เยาว์ก็ได้

ในกรณีที่ผู้ใช้อำนาจปกครองถูกถอนอำนาจปกครองบางส่วนตาม มาตรา ๑๕๘๒ วรรคหนึ่ง ศาลจะตั้งผู้ปกครองในส่วนที่ผู้ใช้อำนาจปกครองถูกถอนอำนาจป กครองนั้นก็ได้ หรือในกรณีที่ผู้ใช้อำนาจปกครองถูกถอนอำนาจจัดการทรัพย์สินตาม มาตรา ๑๕๘๒ วรรคสอง ศาลจะตั้งผู้ปกครองเพื่อจัดการทรัพย์สินก็ได้

มาตรา ๑๕๘๖ ผู้ปกครองตาม มาตรา ๑๕๘๕ นั้น ให้ตั้งโดยคำสั่งศาล เมื่อมีการร้องขอของญาติของผู้เยาว์ อัยการ หรือผู้ซึ่งบิดาหรือมารดาที่ตายทีหลังได้ระบุชื่อไว้ในพินั ยกรรมให้เป็นผู้ปกครอง

ภายใต้บังคับ มาตรา ๑๕๙๐ การตั้งผู้ปกครองนั้น ถ้ามีข้อกำหนดพินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งตามข้อกำหนดพินัยกรรม เว้นแต่พินัยกรรมนั้นไม่มีผลบังคับหรือบุคคลที่ระบุชื่อไว้ในพิ

นัยกรรมนั้นเป็นบุคคลที่ต้อง ห้ามมิให้เป็นผู้ปกครองตาม มาตรา ๑๕๘๗

มาตรา ๑๕๘๗ บุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วอาจถูกตั้งเป็นผู้ปกครองได้ เ ว้นแต่
(๑) ผู้ซึ่งศาลสั่งว่าเป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ควา มสามารถ

(๒) ผู้ซึ่งเป็นบุคคลล้มละลาย

(๓) ผู้ซึ่งไม่เหมาะสมที่ปกครองผู้เยาว์หรือทรัพย์สินของผู้เยาว์

(๔) ผู้ซึ่งมีหรือเคยมีคดีในศาลกับผู้เยาว์ ผู้บุพการีหรือพี่น้องร่วมบิดา มารดาหรือร่วมแต่บิดาหรือมารดากับผู้เยาว์

(๕) ผู้ซึ่งบิดาหรือมารดาที่ตายได้ทำหนังสือระบุชื่อห้ามไว้ มิให้เป็นผู้ปก ครอง

มาตรา ๑๕๙๘/ ผู้ปกครองมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ใช้อำนาจ ปกครองตาม มาตรา ๑๕๖๔ วรรคหนึ่ง และ มาตรา ๑๕๖๗

มาตรา ๑๕๙๘/ ให้ศาลสั่งถอนผู้ปกครองในกรณีดังต่อไปนี้

(๑) ผู้ปกครองละเลยไม่กระทำการตามหน้าที่

(๒) ผู้ปกครองประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในหน้าที่

(๓) ผู้ปกครองใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบ

(๔) ผู้ปกครองประพฤติมิชอบซึ่งไม่สมควรแก่หน้าที่

(๕) ผู้ปกครองหย่อนความสามารถในหน้าที่จนน่าจะเป็นอันตราย แก่ประโยชน์ของผู้อยู่ในปกครอง

(๖) มีกรณีดังบัญญัติไว้ใน มาตรา ๑๕๘๗ (๓) (๔) หรือ (๕)

มาตรา ๑๕๙๘/ การร้องขอให้ถอนผู้ปกครองตาม มาตรา ๑๕๙๘/๘ นั้นผู้อยู่ในปกครองซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์ หรือญาติของ ผู้อยู่ในปกครองหรืออัยการจะเป็นผู้ร้องขอก็ได้

มาตรา ๑๕๙๘/๑๔ ผู้ปกครองไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จ เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้

(๑) มีข้อกำหนดไว้ในพินัยกรรมให้ผู้ปกครองได้รับบำเหน็จ ในกรณีเช่นว่านี้ ให้ผู้ปกครองได้รับบำเหน็จเท่าที่กำหนดในพินัยกรรม

(๒) ในกรณีที่พินัยกรรมไม่ได้กำหนดบำเหน็จไว้ แต่ไม่มีข้อกำหนดห้ามผู้ปกครองรับบำเหน็จ ผู้ปกครองจะร้องขอต่อศาลให้กำหนดบำเหน็จในภายหลังก็ได้ ศาลจะกำหนดให้หรือไม่เพียงใดก็ได้

(๓) ในกรณีที่ไม่มีคำสั่งตั้งผู้ปกครองไว้ในพินัยกรรม และไม่มีข้อกำหนดห้ามผู้ปกครองรับบำเหน็จ ศาลจะกำหนดบำเหน็จให้แก่ผู้ปกครองในคำสั่งตั้งผู้ปกครองก็ได้ หรือถ้าศาลมิได้กำหนด ผู้ปกครองจะร้องขอต่อศาลให้กำหนดบำเหน็จในภายหลังก็ได้ ศาลจะกำหนดให้หรือไม่เพียงใดก็ได้

ในการพิจารณากำหนดบำเหน็จ ให้ศาลพิเคราะห์ถึงพฤติการณ์ รายได้และฐานะความเป็นอยู่ของผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครอง

ถ้าผู้ปกครองหรือผู้อยู่ในปกครองแสดงได้ว่า พฤติการณ์รายได้หรือฐานะความเป็นอยู่ของผู้ปกครองหรือผู้อย

ู่ในปกครองได้เปลี่ยนแปลงไปภายหลังที่ได้เข้ารับหน้าที ่ผู้ปกครอง ศาลจะสั่งให้บำเหน็จ งด ลด เพิ่ม หรือกลับให้บำเหน็จแก่ผู้ปกครองอีกก็ได้ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ให้ใช้บังคับแก่กรณีที่มีข้อกำหนดห้ามไว้ในพินัยกรรมมิให้ผ ู้ปกครองได้รับบำเหน็จด้วย

หมวด ๔ บุตรบุญธรรม

มาตรา ๑๕๙๘/๒๐ การรับบุตรบุญธรรม ถ้าผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบปีห้าปี ผู้นั้นต้องให้ความยินยอมด้วย

มาตรา ๑๕๙๘/๒๑ การรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมจะกระทำได้ ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของบิดาและมารดาของผู้จะเป็นบุตรบุญธรรม ในกรณีที่บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งตายหรือถูกถอนอำนาจปกครอง ต้องได้รับความยินยอมของมารดาหรือบิดาซึ่งยังมีอำนาจปกครอง

ถ้าไม่มีผู้มีอำนาจให้ความยินยอมดังกล่าวในวรรคหนึ่ง หรือมีแต่บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งหรือทั้งสองคนไม่สามารถแ สดงเจตนาให้ความยินยอมได้ หรือไม่ให้ความยินยอมนั้นปราศจากเหตุผลอันสมควร และเป็นปฏิปักษ์ต่อสุขภาพความเจริญหรือสวัสดิภาพของผู้เยาว์ มารดาหรือบิดาหรือผู้ประสงค์ขอรับบุตรบุญธรรมหรืออัยการจะร้อง

ขอต่อศาลให้มีคำสั่งอนุญาตแทนการให้ความยินยอม

มาตรา ๑๕๙๘/๒๕ ผู้จะรับบุตรบุญธรรมหรือผู้จะเป็นบุตรบุญธรรม ถ้ามีคู่สมรสอยู่ต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน ในกรณีที่คู่สมรสไม่อาจให้ความยินยอมได้หรือไปเสียจากภูมิล ำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และหาตัวไม่พบเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี ต้องร้องขอต่อศาลให้มีคำสั่งอนุญาตแทนการให้ความยินยอมของค ู่สมรสนั้น

มาตรา ๑๕๙๘/๓๓ คดีฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรมนั้น เมื่อ

(๗) ผู้รับบุตรบุญธรรมทำผิดหน้าที่บิดามารดา และการกระทำนั้นเป็นการละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๑๕๖๔ มาตรา ๑๕๗๑ มาตรา ๑๕๗๓ มาตรา ๑๕๗๔ หรือ มาตรา ๑๕๗๕ เป็นเหตุให้เกิดหรืออาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อ บุตรบุญธรรม บุตรบุญธรรมฟ้องเลิกได้

มาตรา ๑๕๙๘/๓๕ การฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรม ถ้าบุตรบุญธรรมมี อายุไม่ครบสิบห้าปีบริบูรณ์ ให้บิดามารดาโดยกำเนิดเป็นผู้มีอำนาจฟ้องแทน แต่ถ้าบุตรบุญธรรมมีอายุสิบห้าปีบริบูรณ์แล้ว บุตรบุญธรรมฟ้องได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ใด

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง อัยการจะฟ้องคดีแทนบุตรบุญธรรมก็ได้  

International Law

อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก [4]

ข้อ 12

1.     รัฐ ภาคีจะประกันแก่เด็กที่สามารถ มีความคิดเห็นเป็นของตนเองได้แล้ว ซึ่งสิทธิที่จะแสดงความคิดเห็นเหล่านั้นโดยเสรีในทุ กๆเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็ก ทั้งนี้ ความคิดเห็นดังกล่าวของเด็กจะได้รับการพิจารณาตามสม ควรแก่อายุ และวุฒิภาวะของเด็กนั้น

2.     เพื่อ ความมุ่งประสงค์นี้ เด็กจะได้รับโดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาสที่จะมีสิทธิมีเ สียงในกระบวนพิจารณาทางตุลาการ และทางปกครองใดๆที่มีผลกระทบต่อเด็ก ไม่ว่าโดยตรง หรือโดยผ่านผู้แทน หรือองค์กรที่เหมาะสม ในลักษณะที่สอดคล้องกับระเบียบวิธีปฏิบัติตามกฎหมายภายใน

Translation

Constitution

Constitution of the Kingdom of Thailand[5]

Section 53. Children, youth and family members shall have the right to be protected by the State against violence and unfair treatment.  Children and youth with no guardians shall have the right to receive care and education from the Sate, as provided by law… .

Section 80. The State shall protect and develop children and the youth, promote the equality between women and men, and create, reinforce and develop family integrity and the strength of communities.

Statutes

Child Protection Act 2003[6]

Chapter 2. Treatment of the Child. 

Article 22. Treatment of the Child in any case shall give primary importance to the best interests of the child and any discrimination of an unfair nature shall not be allowed.

In determining if an act is in the best interests of or unfairly discriminatory to the

child, guidelines stipulated in the ministerial regulations shall be applied.

Article 23. Guardians must take care, exhort and develop a child under their guardianship in manners appropriate to local traditions, customs and culture but which in any case must not be below the minimum standards as stipulated in the ministerial regulations. They shall also safeguard the child under care against potentially harmful circumstances, whether physical or mental.

Article 24. Permanent Secretaries, provincial governors, district chiefs, assistant district officers as head of sub - districts or administrative heads of local administration organizations have the duty to protect the safety of children living in the areas under their jurisdiction, regardless of whether or not they have parents or guardians, and also have the authority and duty to supervise and inspect nurseries, remand homes, welfare centres, safety protection centres, development and rehabilitation centres and observation centres falling under their jurisdiction. Findings of the inspections shall be reported to the Bangkok Metropolis Child Protection Committee or the Provincial Child Protection Committee, depending on the case. They shall also have the same authority and duties as those of competent officials according to this Act.

Article 25. Guardians of a child are forbidden to act as follows:

1) Abandon a child at a nursery or health care facility, or with a person employed to look after the child, or at a public place or any other place, with the intention of not taking him or her back;

2) Neglect a child at any place without arranging for appropriate safety protection or care;

3) Deliberately or neglectfully withhold from a child things that are necessary for sustaining the child’s life or health, to an extent which seems likely to cause physical or mental harm to the child;

4) Treat a child in ways or manners which hinder his or her growth or development;

5) Treat a child in ways or manners which constitute unlawful caring.

Article 26. Under the provisions of other laws, regardless of a child’s consent, a person is forbidden to act as follows:

1) Commit or omit acts which result in torturing a child’s body or mind;

2) Intentionally or neglectfully withhold things that are necessary for sustaining the life or health of a child under guardianship, to the extent which would be likely to cause physical or mental harm to the child;

3) Force, threaten, induce, encourage or allow a child to adopt behaviour and manners which are inappropriate or likely to be the cause of wrongdoing;

4) Advertise by means of the media or use any other means of information dissemination to receive or give away a child to any person who is not related to the child, save where such action is sanctioned by the State;

5) Force, threaten, induce, encourage, consent to, or act in any other way that results in a child becoming a beggar, living on the street, or use a child as an instrument for begging or committing crimes, or act in any way that results in the exploitation of a child;

6) Use, employ or ask a child to work or act in such a way that might be physically or mentally harmful to the child, affect the child’s growth or hinder the child’s development;

7) Force, threaten, use, induce, instigate, encourage, or allow a child to play sports or commit any acts indicative of commercial exploitation in a manner which hinders the child’s growth and development or constitutes an act of torture against the child;

8) Use or allow a child to gamble in any form or enter into a gambling place, brothel, or other place where children are not allowed;

9) Force, threaten, use, induce, instigate, encourage or allow a child to perform or act in a pornographic manner, regardless of whether the intention is to obtain remuneration or anything else;

10) Sell, exchange or give away liquor or cigarettes to a child, other than for medical purposes.

If the offences under paragraph one carry heavier penalties under other law,

penalties under such law shall be imposed.

Article 29. Upon finding a child in circumstances which warrant welfare assistance or safety protection as stipulated under Chapters 3 and 4, a person shall provide basic assistance and notify a competent official, administrative official or police officer or person having the duty to protect a child’s safety according to Article 24 without delay. A physician, nurse, psychologist or public health official admitting a child for treatment; teacher, instructor or employer having the duty to take care of a child who is his or her student or employee, shall report immediately to a competent official or person having duty to protect a child’s safety according to Article 24, or administrative official or police officer if it is apparent or suspected that the child has been tortured or is sick due to unlawful care.

Persons notifying or reporting in good faith under this Article shall receive

appropriate protection and shall not be held liable for any civil, criminal or administrative

action arising therefrom.

Article 30. For the benefit of implementation in pursuance of this Act, a competent

official according to Chapters 3 and 4, shall have the authority and duties as follows:

2) To question a child when there is reason to suspect that the child is in need of welfare assistance or safety protection. If necessary, in order that welfare assistance and protection of safety may be better provided or arranged, the child may be brought to the office of the competent official to obtain information about the child and his family, including any person the child is living with. In this regard, such action must be taken without undue delay, but, in any case, the child may not be detained for more than 12 hours.

When such a period of time has elapsed, the provisions under clause (6) shall apply. During the time that the child remains in custody, he or she shall be provided for and, if ill, receive medical care;

Chapter 3. Social Welfare

Chapter 3

Article 32. Children warranting welfare assistance include as follows:

1) Street children or orphans;

2) Abandoned or lost children;

3) Children whose guardians are unable to care for them for whatever reasons, for example, being imprisoned, detained, disabled, chronically ill, impoverished, juvenile, divorced, deserted, mentally ill or neurotic;

4) Children whose guardians have inappropriate behaviours or occupations, which might affect the physical or mental development of the children under their guardianship;

5) Children who have been unlawfully brought up, exploited, abused, or subjected to any other conditions which are likely to cause them to behave in an immoral manner or suffer physical or mental harm;

6) Disabled children;

7) Children in difficult circumstances;

8) Children in situations warranting welfare assistance as stipulated in the ministerial regulations.

Article 33. In the case of a competent official or person having the duty to protect a child’s safety according to Article 24 having been notified by persons according to Article 13 or having found a child warranting welfare assistance according to Article 32, he or she shall consider the most appropriate ways and means of providing assistance as follows:

1) To provide assistance and welfare to the child and his or her family or any person providing care for the child so as to enable them to take care of the child in a manner pursuant to Article 23;

2) To submit the child into the care of an appropriate person who consents to provide care for the child for a period as deemed appropriate but not exceeding one month in the case where it is not possible to act according to clause 1);

3) To facilitate the adoption of the child by a third person in accordance with the law on child adoption;

4) To send the child to be cared for by an appropriate foster family or nursery consenting to take the child into care;

5) To send the child to be cared for at a remand home;

6) To send the child to be cared for at a welfare centre;

7) To send the child to receive education or occupational training, or to receive treatment, rehabilitation, education or occupational training in a development and rehabilitation centre, or to receive spiritual discipline based on religious principles in a Buddhist temple or other place of other religion consenting to take the child into care.

The measures for providing welfare assistance in paragraph one shall follow the regulations laid down by the Permanent Secretary of the Ministry, and in any case, the measures under clauses 4), 5), 6) or 7) must have the consent of the child’s guardian. Such consent must be given in writing in compliance with the form stipulated by the Permanent Secretary of the Ministry or verbally in the presence of at least two witnesses.

In cases where the guardian of the child refuses to give consent without appropriate reason or is unable to give consent, the Permanent Secretary or the Provincial Governor, as the case may be, shall be empowered to send the child for welfare assistance according to the said measures, but not before having heard the recommendations and opinions of experts in the fields of social welfare and medicine.

The Permanent Secretary or the Provincial Governor, as the case may be, shall be empowered to fix the period for the provision of welfare assistance under clauses 4), 5), 6) and 7); however, he or she may use his or her discretion to extend or shorten such period as deemed appropriate, if there are changes in circumstances. In the meantime during such period, a competent official shall expeditiously arrange for that the child to be returned to his or her guardian.

In the case where a request is made by the guardian for the release of a child being provided welfare assistance and such guardian can demonstrate that he or she is capable of exercising guardianship over and taking care of the child, the Permanent Secretary or the Provincial Governor, as the case may be, shall order the release of the child from welfare assistance and submit the child to his or her guardian, even though the period of

Welfare assistance has not been completed.

In the case where the person receiving welfare assistance has reached 18 years of age but is still in a condition warranting further assistance, the Permanent Secretary or the Provincial Governor, as the case may be, may order such person to be granted further assistance until he or she reaches 20 years of age. However, if, due to a compelling reason, the provision of welfare assistance to such person must continue further, and such person has no objection, the Permanent Secretary or the Provincial Governor, as the case may be, may order the continuation of such assistance as necessary and appropriate, but which in any case shall not extend beyond the date when such person reaches 24 years of age.

Article 34. A child’s guardian or relative may take the child to apply for welfare assistance at the Department of Social Development and Welfare or the Provincial Office of Social Development and Welfare or a remand home, welfare centre or a private development and rehabilitation centre.

In the case of a child being brought to apply for welfare assistance at the Department of Social Development and Welfare or the Provincial Office of Social Development and Welfare, if such child is deemed in need of assistance, a competent official shall consider providing appropriate welfare assistance according to Article 33 but in the case where a competent official has not yet been able to find appropriate mean of assistance according to Article 33, the competent official may send the child to a  remand home in the meantime.

In the case of a child being brought to apply for welfare assistance at a remand home, welfare centre or private development and rehabilitation centre, the child’s guardian shall provide a competent official with information concerning the child for consideration in taking further action under paragraph two.

Article 37. When a remand home, welfare centre or development and rehabilitation centre has received a child according to Article 33 (5), (6) or (7), the person in charge of the child’s safety shall expeditiously seek to obtain information about and observe the child and his family, and shall submit without delay his or her views regarding appropriate measures for welfare assistance and safety protection for each individual child, together with the child’s record, to the Permanent Secretary or the Provincial Governor, as the case may be, and the Permanent Secretary or the Provincial Governor shall use his or her discretion to order action as appropriate.

Article 38. In cases where the Permanent Secretary or the Provincial Governor orders a  child to receive welfare assistance without the consent of the child’s guardian under  Article 33, paragraph 2, or where the guardian disagrees with the specified period of assistance under Article 33, paragraph three, or where the guardian had submitted a request to take the child back into guardianship but such request had been rejected by the Permanent Secretary or the Provincial Governor under Article 33, paragraph four, the child’s guardian shall by all means have the right to bring the case to the court which has the jurisdiction over that area in accordance with Article 5 within one hundred and twenty days from the day of notification of the court’s order.

Article 39. In the case where the guardian, having taken a child back into his or her guardianship, displays conduct which suggests that he or she will resume unlawful caring behaviour, a competent official or person having the duty to protect the child’s safety according to Article 24 shall give advice to the guardian. If the guardian does not act according to the advice given, the competent official shall submit a petition to the Permanent Secretary, the Provincial Governor, District Chief or Assistant District Officer as Head of the Sub-District, as the case maybe, to summon the guardian to be put under a bond of performance whereby he or she shall not act in any way that will constitute unlawful care to the child again, and deposit the bond money in the appropriate amount according to the statute; however, the duration of the bond deposit shall not exceed two years. If the bond of performance is violated, the money deposited shall be forfeited  under the Child Protection Fund according to Article 69.

The giving of advice or requisition of a bond shall take into account the economic status of the child’s guardian and the best interests of the child.

The Civil and Commercial Code, Book V[7]

Title II Parent and Child

Chapter II Rights and Duties of Parent and Child

Section 1564. Parents are bound to maintain their children and to provide proper education for them during their minority.

When the children are sui juris, parents are bound to maintain them only when they are infirm and unable to earn their living.

Section 1582. When the person exercising parental power is adjudged incompetent or quasi-incompetent, or abuses his or her parental power as regards the child’s person, or is guilty of gross misconduct, the Court may, of its own motion or on the application of a close relative of the child or of the Public Prosecutor, order the deprivation of the parental power either partly or wholly.

If the person exercising parental power is bankrupt or likely to endanger the child’s property by mismanagement, the Court may, upon the same proceedings as mentioned in the foregoing paragraph, order the deprivation of the right of management.

Section 1583.  If the causes mentioned in the forgoing section have ceased to exist, a person who has been partly or wholly deprived of parental power may recover it by permission of the Court on application made by him or by a close relative of the child.

Chapter III Guardianship[8]

Section 1585. A person who is not sui juris and has no parents, or whose parents have been deprived of their parental power, may be provided with a guardian during minority.

In case where the person exercising parental power is partially deprived of such parental power under Section 1582 paragraph 1, a guardian may be appointed with regard to such deprived part of power. In the case where the person exercising parental power is partially deprived of such power to manage the property under Section 1582 paragraph 2, a guardian may be appointed for the purpose of managing the property.

Section 1586.  The guardian as provided in Section 1555 may be appointed either by the will of the last surviving parent, or by order of the Court on application of a relative of the minor or of the Public Prosecutor.

Subject to Section 1590, the guardian must be appointed according to the testamentary disposition, if existing, except the will has no effect or the person provided in the will is forbidden from the guardianship under Section 1587. 

Section 1587. Any person sui juris may be appointed a guardian, except the following:

(1)              persons adjudged incompetent or quasi-incompetent;

(2)              bankrupts;

(3)              persons unfit to take charge of the person or property of the minor;

(4)              persons having or having had a lawsuit against the minor, an ascendant of the minor, or brothers and sisters of full blood or half blood of the minor;

(5)              persons having been excluded by name from the guardianship by the last surviving parent.

Section 1598/2. A guardian has the same rights and duties as a person exercising parental power as provided in Section 1564 paragraph 1 and Section 1567.

Section 1598/8. A guardian shall be discharged by the court in the following cases:

(1)              the guardian fails to perform his duties;

(2)              the guardian is guilty of gross negligence in performing his duties;

(3)              the guardian abuses his functions;

(4)              the guardian is guilty of such misconduct as to make him unworthy of a post of confidence;

(5)              the guardian is inefficient in his duties to the extent that the wards’ interests are likely to be imperiled;

(6)              in the cases as provided in Section 1587 (3) (4) or (5).

Section 1598/9. An application for the discharge of a guardian, as provided in Section 1598/8, may be made by the ward himself if he is not less than fifteen years of age, or by a close relative, or by the Public Prosecutor.

Section 1598/14. A guardian is not entitled to receive remuneration, except the following:

(1)              in the case that it is provided in the will, the guardian shall receive the remuneration as provided in the will;

(2)              in the case that it is neither provided nor prohibited in the will, the guardian may subsequently request the Court to designate the remuneration, and the Court may designate at its discretion;

(3)              in the case that there is neither appointment of the guardian in the will nor the prohibition of the guardian from receiving remuneration, the Court may designate the remuneration in the act appointing the guardian, or the guardian may subsequently request such designation from the Court, which may designate at its discretion.

Remuneration shall be considered with due regard to the relative means and to the respective station in life of the guardian and the ward.

If the guardian or the ward has demonstrated that such relative means and the respective station in life have altered after assuming the parental duties, the Court may order any modification to the remuneration correspondingly. This section is also applicable to the case where the will prohibits the guardian from receiving remuneration.

Chapter IV Adoption.[9]

Section 1598/20 If the person adopted is not less than fifteen years of age, his consent shall be obtained.

Section 1598/21 The adoption can take place only with the consent of the parents of the adopted. In the case that one of the parents has deceased or been deprived of the parental power, the consent may be given by the other parent with the parental power.

If there is no authorized person to give such consent as provided in paragraph 1, or if the parents are unable to make a declaration of the consent or do not give the consent without appropriate reason, adverse to the well-being of the adopted; the person to adopt or the Public Prosecutor shall request the order of the Court in lieu of such consent.          

Section 1598/25 A person who is to adopt, or a person who is to be adopted, must, if married, obtain the consent of his or her spouse. In case that the spouse is unable to give the consent, or has departed from the residence and disappeared for not less than one year, an application with the Court must be filed to grant the order of permission in lieu of such consent.

Section 1598/33 As regards actions for dissolution of adoption:

(7) If the adopter fails to comply with his parental duties … or to the extent that causes or may cause serious injury to the adopted, the adopted may claim dissolution.

Section 1598/35 As regards actions for dissolution of adoption, an adopted who is under fifteen years of age must have his natural parents enter an action for the dissolution on his behalf.

In the case as provided in paragraph 1, the Public Prosecutor may enter the action on behalf of the adopted.

International Law

Convention on the Rights of the Child[10]

Article 12

1. States Parties shall assure to the child who is capable of forming his or her own views the right to express those views freely in all matters affecting the child, the views of the child being given due weight in accordance with the age and maturity of the child.

2. For this purpose, the child shall in particular be provided the opportunity to be heard in any judicial and administrative proceedings affecting the child, either directly, or through a representative or an appropriate body, in a manner consistent with the procedural rules of national law.

Local Contact Information

Chakkrid Chansang

Centre for Protection of Children’s Rights (CPCR)

185/16 Charansanitwong 12 Rd., Bangkok Yai, Bangkok, Thailand 10600
Telephone: 66-2-412-1196, 412-0739, 864-1421

Fax: 66-2-412-9833
Email: cpcr@internetksc.th.com
Website: www.thaichildrights.org

Additional Resources and Links

Child Protection Special: Part One, Bangkok Post, “Who cares, wins” June 8-14, 2004.

http://www.bangkokpost.net/education/site2004/cvjn0804.htm


Endnotes

[1] This page is also available as a .pdf Document, and Word Document.

[2]รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 [Constitution of the Kingdom of Thailand], available at http://www.parliament.go.th/con40/con-main.htm.

[3]Commercial and Civil Code of the Kingdom of Thailand, Book V, (as amended 1990), available at http://www.kodmhai.com/ .

[4] Full text of the UN Convention on the Rights of the Child in Thai, available at http://www.unicef.org/magic/media/documents/CRC_Thai_language_version.pdf, and also as .pdf Document.

[5] Official Translation of the Constitution of the Kingdom of Thailand, done by the Office of the Council of State, Thailand, available at http://www.krisdika.go.th/lawHtmStaticContent01.jsp?frm=tmp&page=eng&lawType=law1&lawCode=%c306&lawID=%c306-10-2540-a0001, and also here, and also as .pdf Document, and also as Word Document.

[6] Child Protection Act 2003 (Thai), available as .pdf Document.  English version available as .pdf Document.

[7] Unless otherwise noted, translations of the Civil and Commercial Code of Thailand, Book V is an Official translation, accepted by the Judicial Council, prepared by Prasert Suttawarasit and Kamol Sandhikshetrin (1971).

[8] Translations of sections of the Civil and Commercial Code pertaining to Guardianship—e.g. 1585-87, 1598(2), 1598(8), 1598(9), and 1598(14)—are unofficial translations based on official translation by Suttawarasit and Sandhikshetrin.

[9] Translations of sections pertaining to adoption—e.g. 1598(20), 1598(21), 1598(33),1589(35).

[10]Convention on the Rights of the Child, art. XII, G.A. res. 44/25, annex, 44 U.N. GAOR Supp. (No. 49) at 167, U.N. Doc A/44/49 (1989) (acceded to by Thailand on March 27, 1992).

South-Eastern Asia
Thailand